เพลี้ย (Aphids) เป็นสัตว์ตระกูล Aphidoidea รู้จักกันในชื่อ greenfly หรือ blackly มันมีความพิเศษอยู่ตรงที่สีสันของพวกมัน ที่จะมีเอกลักษณะเฉพาะตัวแม้ว่าจะอยู่ในสปีชีส์เดียวกัน พวกมันสามารถแพร่พันธ์ได้โดยไม่จำเป็นต้องพึ่งพาตัวผู้ ทำให้สามารถขยายพันธุ์ได้เร็วมาก ช่วงเวลาโดยตัวเมียที่เกิดมาใหม่มักจะไม่มีปีก แต่พวกมันอาจจะงอกปีกขึ้นมาในช่วงถัดไปของฤดู ทำให้สามารถย้ายอาณานิคมไปยังต้นไม้ใหม่ได้ Read more about มารู้จักศัตรูตัวร้าย เพลี้ยมีกี่ชนิด พร้อมวิธีกำจัด …
Author: admin
ประเทศไทย คือประเทศแห่งเกษตรกรรม เพราะว่าประเทศไทยเป็นประเทศที่มีดิน น้ำ อากาศ สมบูรณ์ที่สุดในโลกเลยก็ว่าได้ ทำให้ประชากรส่วนใหญ่ในประเทศไทยนั้นดำรงอาชีพเกษตรกรรมเป็นจำนวนมาก ซึ่งเกษตรกรรมที่เราพูดถึงนี้ก็จะมีอาชีพ ชาวไร่ ชาวสวน ชาวนา ชาวประมงเป็นต้น
Read more about ทฤษฎีการเกษตรแบบผสมผสาน มาจากรากฐานปรัชญาแห่งเศรษฐกิจพอเพียง …
เคยสงสัยไหมว่าระความหมายของ “เกษตรกร” กับ “เกษตรกรรม” มีความแตกต่างกันอย่างไร มันเป็นคำที่เราได้ยินบ่อยมาก โดยเฉพาะในประเทศไทยเองที่เป็นประเทศเกษตรกรรม สองคำความคล้ายคลึงกัน แต่มีความแตกต่างกัน โดยเพราะเกษตรกรรมค่อนข้างมีเนื้อหาครอบคลุมมากกว่า ดังนั้นเราจึงสามารถอธิบายออกความหมายทั้งสองคำได้ดังนี้ Read more about เกษตรกร กับ เกษตรกรรม มีความต่างกันอย่างไร …
รูปแบบแนวทางเกษตรอินทรีย์ ถือได้ว่าเป็นการเกษตรยุคใหม่ ที่จะเข้ามาเปลี่ยนชีวิตโลกให้เป็นไปตามเป้าหมาย ทุกวันนี้โลกเรามีคนเกิดขึ้นมาอยู่พื้นโลกแทบทุกวัน จนถูกทำสถิติโลกเอาไว้ว่า ในอีก 50 ปี มีประชากรไม่ต่ำกว่า 9700 ล้านคน ซึ่งดูแล้วมันเป็นอะไรที่เยอะมากจริงๆ Read more about แนวทางเกษตรอินทรีย์ ช่วยเหลือแบบเกื้อกุลกัน …
วัชพืช คือ พืชที่ขึ้นผิดตำแหน่ง หรือพืชที่เกิดขึ้นในที่ไม่สมควรและการเกิดขึ้นของมันส่งผลกระทบต่อ ระบบการผลิตทาการเกษตรในทางลบ ทำให้ผลผลิตถูกแย่งสารอาหาร จนล้มตาย หรือเจริญเติบโตได้ไม่เต็มที่ สามารถพบได้ทั่วไป ทั้งในสนามหญ้า , ริมถนน , คูน้ำ , บริเวณปลูกพืชผลทางการเกษตร , ในป่า เป็นต้น Read more about วัชพืชคืออะไรและมีวิธีการกำจัดอย่างไร …
งานเกษตรแฟร์ เป็นงานขนาดใหญ่ ถูกจัดขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อแสดงวัตกรรมใหม่ๆ รวมทั้งสินค้าทางการเกษตรอันน่าตื่นตาตื่นใจ อีกทั้งภายในงานนี้ยังมีการจัดแสดงผลผลิตทางการเกษตรอีกมากมาย ให้คุณได้เดินดูอย่างละลานตา เรียกได้ว่าเดินจนเหนื่อยก็ยังดูไม่ครบ โดยงานเกษตรแฟร์ เป็นงานขนาดใหญ่ที่จัดขึ้นโดยความร่วมมือของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กับมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ งานนี้จัดขึ้นต้นเดือนกุมภาพันธ์ของทุกปีๆ Read more about งานเกษตรแฟร์ สู่การต่อยอดแห่งความคิดในโลกของเกษตรกรรม …
ในปัจจุบันนี้ ข้าวทั่วโลกมีจำนวนอยู่ 120,000 สายพันธุ์ ด้วยขนาดที่เยอะจึงทำให้มีการแบ่งประเภทออกเป็น 2 กลุ่มใหญ่ๆ คือ ข้าวแอฟริกาและข้าวเอเชีย ในบทความนี้เราจะมาแนะนำให้คุณรู้จักกับข้าวชนิดต่างๆ ที่ได้รับความนิยมในประเทศไทยกัน Read more about มารู้จักกับข้าวชนิดต่างๆกันเถอะ …
เครื่องมือ เป็นสิ่งอำนวยความสำดวกด้านต่าง ๆ ให้กับมนุษย์มานับพันปี โดยเฉพาะในด้านของเกษตรกรรม มีการประดิษฐ์คิดค้นสิ่งต่าง ๆ ที่นะมาใช้ลดต้นทุน ลดแรง เพิ่มประสิทธผลในหลาย ๆ ด้านแยกออกเป็น 2 ส่วนใหญ่ด้วยกัน คือ “เครื่องมือใช้แรง” กับ “เครื่องจักร” ในส่วนของเครื่องใช้แรงอย่างเช่น ขวาน เคียว ส้อม คราด จอบ พลั่ว เกรียง รถสาลี่ เป็นของหลัก ๆ ที่ใช้กันทั่วไปในสวนขนาดเล็ก จนถึงขนาดกลาง
Read more about มาทำความรู้จักอุปกรณ์พื้นฐานในการทำเกษตร 5 ชนิด …
มหาลัยเกษตรศาสตร์ เป็นมหาวิทยาลัยวิจัยของรัฐในประเทศไทย อยู่ในอันดับที่ 651-700 ใน QS World University Rankings 2015/16 เกษตรศาสตร์ได้รับการจัดอันดับให้เป็นอันดับที่ 29 ในด้านการเกษตรและการป่าไม้ทั่วโลกในการจัดอันดับมหาวิทยาลัยโลกของ QS 2017 เป็นมหาวิทยาลัยเกษตรแห่งแรก และเป็นมหาวิทยาลัยที่เก่าแก่เป็นอันดับสามของประเทศไทย ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2486 เพื่อส่งเสริมหัวข้อที่เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์การเกษตร (เกษตรศาสตร์) Read more about มหาลัยเกษตรศาสตร์ สู่การเป็นมืออาชีพด้านการเกษตรา …
ในช่วงกลางปี พ.ศ. 2559 รัฐบาลของประเทศไทยได้ออกนโยบายการเกษตรใหม่ออกมา โดยเป็นนโยบายที่สนับสนุนวงการเกษตรในรูปแบบใหม่ ซึ่งไม่ใช่การพยุงราคาผลผลิตอย่างที่เคยเป็นมาในอดีต แต่กลับเป็นการเปลี่ยนวิธีคิดรวมทั้งการทำเกษตรยุคเก่าไปเลย นั่นก็คือ Thailand 4.0จึงทำให้ก่อกำเนิดคำว่า Smart Farmer ขึ้นมา โดยแนวคิดของการเกษตรยุคใหม่ คือคนไทยจำเป็นต้องมีความรู้ในด้านอาชีพด้านเกษตรกรอย่างเจาะลึก มีความภูมิใจในวิชาชีพของตน ซึ่งเปรียบได้ดั่งกับกระดูกสันหลังของคนไทยมาอย่างช้านาน แต่พอกาลเวลาเปลี่ยนไปพร้อมเข้าสู่ยุคดิจิทัล การทำเกษตรก็ถูกคนรุ่นใหม่ส่วนใหญ่มองข้าม รวมทั้งมองว่าเป็นเรื่องล้าสมัย แต่ความจริงแล้ว เกษตรกรไทยก็สามารถปรับตัวให้เป็นเกษตรกรในยุคสมัยใหม่อันมีคุณภาพ ก้าวไปพร้อมกับโลกดิจิทัล อย่าง Smart Farmer จากการสนับสนุนของภาครัฐ Read more about มาดูกันว่าการทำเกษตรยุคใหม่เป็นอย่างไร …